วันอังคารที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2

วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันอังคารที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2557
เวลาเรียน 08.30 - 12.20 น.

สิ่งที่ได้รับในวันนี้

อาจารย์ได้เปิด Power Point ที่มีรูปภาพทั้งหมด 4 รูปภาพ และบรรยายรูปภาพไปพร้อมๆกัน
ว่าแต่ละภาพสื่ออะไรเกี่ยวกับวิทยาศาสตตร์
***วิทยาศาสตร์คือสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา

ภาพที่ 1 (เด็กปลอกไข่)
ปลอกไข่ >>>  เป็นเครื่องมือวิทยาศาสตร์ คือ เด็กใช้มือในการปลอกไข่เป็นการลงมือด้วยตนเอง เด็กได้ลงมือทำผ่านประสามสัมผัสทั้ง 5 า -ดู    หู - ฟัง   ลิ้น- ชิม   กาย  - สัมผัส   จมูก - สูดดมการ
ตีไข่ >>> เป็นการทดลอง
ไข่ผสมกัน >>> การเปลี่ยนแปลง
เมื่อเด็กปลอกไข่ ตีไข่ให้ไข่ขาวกับไข่แดงผสมกันเด็กก็จะรู้ว่ามันจะเกิดอะไรขึ้น >>> การสังเกต

ภาพที่ 2 (เด็กนั่งตำครก)
ภาพนี้เป็นการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคือ เป็นการสอนชีวิะ ฟิสิกส์ โดยใช้ให้เด็กเป็นประสบการณ์ในการได้ลงมือทำจริง

ภาพที่ 3 (การปลูกพืช)
เป็นการสอนวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กโดยให้เด็กทำผ่านประสบการณ์ตรง คือ การให้เด็กพรวนดินเพื่อให้ดินมันร่วนพรุ่น เพื่อให้น้ำไหลผ่านได้ เพื่อพืชได้ดูดซึมน้ำ แค่นี้ก้เป็นการสอนวิทยาศาสตรืให้กับเด็กปฐมวัยแล้ว

ภาพที่ 4 (ฝังลูกนิมิตร)
ภาพนี้เป็นการสอนวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กในเรื่อง ของแข็ง ระดับ

จากภาพทั้ง 4 ภาพจะบอกว่า วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เป็นธรรมชาติสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา

เกล็ดคำถามจาก (Power Point)

เด็กปฐมวัย Vs การเรียนวิทยาศาสตร์

-วิทยาศาสตร์เป็นยาขมสำหรับเด็กปฐมวัยหรือไม่?
 ไม่จริง เพราะ สิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเด็กเป็นสิ่งที่เด็กอยากรู้อยากเห็น พัฒนาการเป็นตัวบ่งบอกว่าเด็กสามารถทำอะไรได้บ้าง

- ถ้าเด็กเรียนวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจะอยากไปไหม?
  ไม่ยาก เพราะวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก

- ควรจะให้เด็กอนุบาลเรีนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร?
  ให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์จริง โดยการรให้เด็กลงมือทดลองทำด้วนตนเอง จะทำให้เด็กมีประสบการณ์ในการจำสิ่งนั้นๆได้ง่าย

อาจารย์ให้สรุปสิ่งที่เรียนเป็น map

แผงผังความคิดของดิฉัน



ความรู้ที่จะนำไปประยุกต์ใช้
 เรื่องการเขียน map ที่ถูกวิธี ว่าควรเขียนอย่างไร เราควรไตร่ตรองความคิดออกมาว่าสิ่งที่เราเรียน วันนี้เราเรียนอะไร ความหมาย วิธีการ พัฒนาการ  การไปประยุกต์ใช้ เทคนิคการสอน ว่าเราควรเรียบเรียงคำพูดหรือวิธีการเขียนอย่างไรและสามารถนำสิ่งที่อาจารย์บอกไปประยุกต์ใช้ในการเขียน map ของเราต่อไป

ประเมินตนเอง
  
 มาเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบ ตั้งใจฟังและจดบันทึกในสิ่งที่อาจารย์สอน

ประเมินเพื่อน 

แต่งกายเรียบร้อย   ทุกคนมีความตั้งใจเรียนสนใจในสิ่งที่อาจารย์สอน


1 ความคิดเห็น:

  1. การสรุปข้อความรู้ยังหลงประเด็นนะคะ
    ถ้าให้ดีช่วงที่ครูให้ถามคุณอาจยกสิ่งที่คุณเข้าใจมาถามครูก็ได้เพื่อจะได้แก้ไขความเข้าใจให้ถูกต้องนะคะ

    ตอบลบ