วันอังคารที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารณ์จินตนา สุขสำรญ
วันอังคารที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.


สิ่งที่ได้รับในวันนี้


Actvities   วันนี้อาจารยืเริ่งต้นชั่วโมงด้วยการให้เราประดิษฐ์ (Invention)  สื่อจากกระดาษ


กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมลูกยาง
อุปกรณ์
1 กระดาษหน้าปก ( Paper )
2   กรรไกร ( Scissors )
3   คลิปหนีบกระดาษ  ( paperclip )

ขั้นตอนการประดิษฐ์

1 นำกระดาษที่ได้มาพับครึ่ง  แล้วนำกรรไกรมาตัดเป็นแนวตรงยาวให้ชิดกับรอยพับครึ่งของกรรไกร
2 พับส่วนบนของกระดาษเข้ามา  1 เซนติเมตร
3 นำคลิปหนีบกระดาษมาหนีบไว้ด้านที่พับส่วนบนเข้ามา  จากนั้นกางปีกส่วนที่โดนตัดออกไปคนละด้าน    กัน
4 นำมาทดลองเล่น  โดยการโยนและทำให้กระดาษหมุน


Results

Grop : 1-2 หมุนได้ดี เพราะการตัดกระดาษที่ลึกและสมดุลกันจึงทำำให้กระดาษหมุนได้ทรงและทรงตัวได้ดีในอากาศ
Grop : 3-4 หมันได้น้อย ลงสู่พื้นเร้ว บางคนไม่หมุน


Solutions
ตัดตรงปรีกให้ลงไปอีก ให้เท่า Grop 1-2
เปลี่ยนวิธีการเล่นใหม่ (โยน)

กิจกรรมที่ 2  กิจกรรมแกนกระดาษทิชชู่
อุปกรณ์
1 แกนกระดาษทิชชู่
2 กระดาษตัดเป็นรูปวงกลม
3 ไหมพรม
4 กาว
5 กรรไกร
6 สี
7 ที่เจาะรู


ขั้นตอนการประดิษฐ์
1 นำเเกนกระดาษทิชชู่มาตัดครึ่ง แล้วเจาะรู 4 รู
2 นำกระดาษมาตัดเป็นวงกลม มาแปะตรงเเกนกระดาษทิชชู่ วาดรูปลงไปให้สวยงาม
3 นำไหมพรมมาร้อยกับแกนกระดาษทิชชู่ ให้สามารถห้อยคอได้
4 จากนั้นก็ทดลองเล่น  โดยการเคลื่อนขึ้นลงไปมา ได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์




วิธีการเล่น

ผูกเชือกให้สายเชือกสามารถคล้องคอได้ แล้วนำมาคล้องคอ ใช้มือดึงเชือกขึ้นลงไปมาจะทำให้ภาพขึ้นลงได้ และเรายังสามารถที่จะประดิษฐ์สื่อขึ้นได้เอง นอกจากประดิษฐ์จากแกรนกระดาษทิชชูเรายังนำสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเราอย่างเช่น จานกระดาษ หนังสือพิมพ์ หรือแผ่นซีดี นำมาเป็นสื่อวิทยาศาสตร์ที่สอนเด็กได้


การนำเสนอบทความของเพื่อน

บทความที่ 1 โดย miss Jiraporn Noulchom
เรื่อง สะกิดลูกให้คิดแบบวิทยาศาสตร์

รูปแบบ 5 Es Model ประกอบไปด้วยขั้นตอนง่ายๆ 5 ขั้น ซึ่งพ่อแม่สามารถนำไปฝึกลูกให้คิดแบบวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้

ขั้นที่ 1 เมื่อลูกเรียน 2 อย่างพร้อมกัน พ่อแม่ควรตรวจสอบความรู้เดิมของลูกก่อน ว่ามีพื้นฐานขนาดไหน หรือเข้าใจถูกต้องหรือไม่

ขั้นที่ 2 ให้ลูกแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยค้นขว้าหาข้อมูลเรื่องที่สนใจและอยากรู้จากแหล่งต่างๆ

ขั้นที่ 3 ให้ลูกลองวิเคราะห์ตรวจสอบความรู้ที่ตนเองสร้างจากขั้นที่ 2 โดยคุนกับลูก และให้ลองอธิบายเรื่องที่ได้เรียนรู้ตามความเข้าใจของตนเอง

ขั้นที่ 4 ให้ลูกเชื่อมโยง และขยายความรู้ในสิ่งที่เรียนไปยังสิ่งที่อยู่รอบตัว สามารถทดลองได้ง่ายๆ

ขั้นที่ 5 พูดคุยกับลูก ให้ลูกสะท้อนความรู้และความคิดที่ตนเองสร้างขึ้นมาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์


บทความที่ 2  โดย  miss Anna Chawsuan
เรื่อง การเรียนรู้จากนิทาน

การเรียนรู้จากนิทานมีขั้นตอนการจัดกิจกรรม 3 ขั้นตอน ประกอบไปด้วย

ขั้นตอนแรก คือ ขั้นนำ เด็กได้ร้องเพลงไก่ พร้อมทำท่าทางประกอบเพลงอย่างอิสระ  สนทนาตั้งคำถาม ในการสืบค้นเกี่ยวกับสัตว์ในนิทานเรื่องหนูไก่คนเก่งที่เด็กชื่นชม คือ ไก้และเป็ด

ขั้นที่สอง คือ ขั้นสอน ชวนเด็กตั้งคำถามเชิงวิทยาศาสตร์ในการสืบค้น
 "อยากรู้จังไก่กับเป็ดเหมือนหรือต่างกันอย่างไรบ้างค่ะ" หนูรู้ได้อย่างไร? บอกรายละเอียดให้มากที่สุด สามารถตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับไก่และเป็ดโดยการนำลูกไก่มาให้เด็กได้สังเกต รูปร่าง ลักษณะ ขนาด และอาการของลูกไก่ ด้วยตาเปล่าและแว่นขยาย บอกรายละเอียดของเป็ดให้มากที่สุด
นอกจากนั้นครูควรพาเด็กไปศ฿กษาความรู้เพิ่มเติมจากฟาร์มเลี้ยงไก่และเป็ด หรือพื้นที่อยู่ใกล้โรงเรียน และสังเกตไก่และเป็ด จากนั้นให้เด็กมาช่วยกันบอกรายละเอียดของไก่และเป็ด และวาดภาพอย่างอิสระ

ขั้นที่สาม คือ ขั้นสรุป เด็กเสนอผลงานจากการสังเกตรูปร่างลักษณะของไก่และเป็ดผ่านภาพวาดบนกระดาน เด็กได้รู้ว่าไก่และเป็ดมีรูปร่าง ลักษณะต่างกัน โดยค้นหาคำตอบด้วยตนเองจากการสังเกตและเปรียบเทียบ


บทความที่ 3 โดย miss




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น